วันนี้เราจะมาพูดถึงความเสี่ยงนะครับ
1 ประเภทของความเสี่ยง
ความเสี่ยง คือ โอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์
1 ประเภทของความเสี่ยง
ความเสี่ยง คือ โอกาสที่จะประสบกับความสูญเสียหรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์
สิ่งที่ไม่พึงประสงค์ในโรงพยาบาล ได้แก่ อันตรายหรือการบาดเจ็บต่อร่างกายและจิตใจ เหตุร้าย ภาวะคุกคาม ความไม่แน่นอน exposure และการเปิดเผยความลับ
ความเสี่ยงที่เกิดกับผู้ป่วย มีทั้งด้านกายภาพ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ
ความเสี่ยงที่เกิดจากการดูแลผู้ป่วย เรียกว่า ความเสี่ยงทางด้านคลินิก ซึ่งอาจจำแนกเป็น ความเสี่ยงด้านคลินิกทั่วไป และความเสี่ยงทางคลินิกเฉพาะโรค สำหรับ รพ.สังขะของเราแบ่งความ
สำหรับ รพ.สังขะของเราแบ่งความเสี่ยง เป็น 2 ประเภทได้แก่
1 ความเสี่ยงทางด้านคลินก
2 ความเสี่ยงทางด้าน Non clinic
2 Systemic focus and systemic approach
เมื่อเกิดความเสี่ยง ท่านคิดว่า ท่านจะเน้นการปรับปรุงที่ตัว บุคคลหรือปรับที่ระบบงานดีกว่า
ถูกต้องแล้วครับ ... เราควรจะเน้นปรับปรุงที่ตัวระบบงานมากกว่าที่จะกล่าวโทษตังบุคคลที่เป็นต้นเหตุของปัญหา (systemic focus)
ทีนี้เรามาดูคำว่า Syetemic appraoch กัน
Systemic approach เป็นความพยายามที่จะทำความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ เพราะมนุษย์มีข้อจำกัด
ถูกต้องแล้วครับ ... เราควรจะเน้นปรับปรุงที่ตัวระบบงานมากกว่าที่จะกล่าวโทษตังบุคคลที่เป็นต้นเหตุของปัญหา (systemic focus)
ทีนี้เรามาดูคำว่า Syetemic appraoch กัน
Systemic approach เป็นความพยายามที่จะทำความเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ เพราะมนุษย์มีข้อจำกัด
pic Risk management system
3. วัฒนธรรมความปลอดภัย
วัฒนธรรมคือวิถีชีวิตที่ดีงาม ที่ผู้คนปฏิบัติคล้ายกันโดยอัตโนมัติ ผูคนยอมรับและปฏิบัติจนเคยชิน (การไหว้)
วัฒนธรรมความปลอดภัย คือ ความเชื่อที่ทุกคนยึดมั่น และปฏิบัติจนเป็นนิสัยไปในทิศทางเดียวกัน ในเรื่องความปลอดภัย (การล้างมือ )
Pic 2 การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
4. กิจกรรมบริหารความเสี่ยงในบันไดขั้นที่ 3
การแบ่งระดับความรุนแรงของความเสี่ยง
1. ความเสี่ยงทางคลินิก แบ่งเป็น 9 ระดับดังนี้
A : เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่จะก่อให้เกิดอุบัติการณ์ เช่น เกือบ off ICD ผิดคน แต่ตรวจพบก่อน เนื่องจากมีการย้ายเตียงผู้ป่วยและแพทย์คิดว่าอยู่เตียงเดิม หรือเขียนใบ request X-ray/lab ผิด แต่ยังไม่ทันได้ order หรือพื้นทางเดินเปียกเสี่ยงต่อการลื่นล้ม เป็นต้น
B : เกิดอุบัติการณ์ขึ้น แต่ไม่ส่งผลถึงผู้ป่วย เช่น ส่งผู้ป่วยไป x-ray ผิดคน แต่ยังไม่ทันได้ x-ray หรือ จ่ายเลือดผิดแต่ตรวจสอบพบก่อนที่จะให้ผู้ป่วย หรือแพทย์ set ผ่าตัดผิดคน / ผิดข้าง แต่ทราบก่อนที่หอผู้ป่วยจะเตรียมผ่าตัดผู้ป่วย หรือเภสัช ฯ จ่ายยาผิดแต่ดักจับพบก่อน เป็นต้น
C: เกิดอุบัติการณ์กับผู้ป่วย แต่ไม่ทำให้ได้รับอันตราย เช่น แพทย์ set ผ่าตัดผู้ป่วยผิดราย ผู้ป่วยได้รับการเตรียมผ่าตัดผิดไปแล้วแต่ยังไม่ได้รับการผ่าตัด หรือ x-ray ผู้ป่วยผิดข้าง / ผิดคน แต่ผู้ป่วยไม่ได้รับอันตราย หรือเจาะเลือดผู้ป่วยผิดราย แต่ทราบก่อนที่จะส่งไป หรือให้ยา MTV ผิดเวลา เป็นต้น
D : เกิดอุบัติการณ์กับผู้ป่วย และต้องการการเฝ้าระวัง เพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตราย หรือต้องมีการบำบัดรักษา เช่น ผู้ป่วยตกเตียงแล้วต้องมีการสังเกตอาการ/เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท ( neurological signs )แต่ไม่มีการรักษาอื่นเพิ่มเติม
E : เกิดอุบัติการณ์กับผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวและต้องมีการบำบัดรักษา เช่น ผู้ป่วยตกเตียง ศีรษะแตกต้องให้แพทย์เย็บแผล
F : เกิดอุบัติการณ์กับผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวและต้องนอนโรงพยาบาล หรืออยู่โรงพยาบาลนานขึ้น
G : เกิดอุบัติการณ์กับผู้ป่วย ส่งผลให้เกิดอันตรายถาวร
H : เกิดอุบัติการณ์กับผู้ป่วย ส่งผลให้ต้องทำการช่วยชีวิต
Thank you very much.
ตอบลบได้รับความรู้และความสำคัญกับเรื่องที่เสี่ยงๆ อย่างนึกภาพออกง่ายๆ...
ขอบคุณอีกครั้งครับ